เพราะเหตุใดสหรัฐอเมริกาถึงตัดสิทธิ GSP ไทย?
- 15 Nov 2019

GSP ย่อมาจาก (General of System of Preferences) คือ “สิทธิทางภาษีที่ประเทศที่พัฒนาแล้วบางประเทศให้กับประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลาย” โดยไม่ต้องเสียภาษี สินค้านำเข้าบางรายการเมื่อส่งสินค้าไปขายในประเทศผู้ให้สิทธิอีกทั้งเพื่อให้ประเทศที่กำลังพัฒนาสามารถส่งออกสินค้าไปแข่งกับสินค้าจากประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือแข่งกับประเทศที่มีความสามารถในการผลิตสินค้าได้ราคาถูกและมีประสิทธิภาพ เช่น จีน เป็นต้น
ประโยชน์ของ GSP สำหรับประเทศที่ได้รับสิทธิ
หากเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาการได้สิทธิ GSP จะเกิดกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายในประเทศ เพราะเมื่อเราขายสินค้าได้ จะเกิดกระบวนการผลิตสินค้า, การจ้างงานและทำให้เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัว ทำให้ความเป็นอยู่ของประชาชนและมาตรฐานการครองชีพคนงานในประเทศดีขึ้น
นอกจากนี้ GSP ยังมีส่วนช่วยผู้ประกอบการของประเทศผู้ให้เองสามารถลดต้นทุนในการผลิตสินค้า เมื่อนำเข้าวัตถุดิบจากประเทศที่ได้รับสิทธิ GSP เพราะไม่ต้องเสียภาษีนำเข้าอีกด้วย
การให้สิทธิ GSP
เป็นการให้สิทธิแบบฝ่ายเดียว คือประเทศที่ให้สิทธิ GSP ไม่ได้เรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนจากประเทศผู้รับ แต่เป็นการให้แบบ “มีเงื่อนไข” กล่าวคือประเทศที่จะได้รับสิทธิ GSP จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ผู้ให้วางไว้ อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา
โดยประเทศผู้มีสิทธิ์ได้รับ GSP จากสหรัฐฯ จะต้องมีรายได้ของประชากรต่อหัว ไม่เกิน 12,476 เหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี (คิดเป็นเงินไทยราว 3.7 แสนบาท) ในส่วนประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยประมาณ 6 พันเหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี (คิดเป็นเงินไทยราว 1.8 แสนบาท) และต้องเป็นประเทศที่ไม่สนับสนุน หรือเกี่ยวข้องกับการก่อการร้ายระหว่างประเทศ ต้องมีการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาในระดับที่ดีพอสมควร มีการคุ้มครองสิทธิแรงงานตามมาตรฐานสากล มีการขจัดการใช้แรงงานเด็ก และมีเงื่อนไขอื่นๆ ด้านการค้าและการปฏิบัติต่อสหรัฐฯอย่างเท่าเทียมกับประเทศอื่นๆ
ปัจจุบันสหรัฐฯให้สิทธิ GSP แก่ประเทศต่างๆ ประมาณ 125 ประเทศ ครอบคลุมสินค้าประมาณ 3,500 รายการ โดยสหรัฐเริ่มให้สิทธิทางภาษีแก่ประเทศต่างๆ โดยออกเป็นกฎหมายตั้งแต่ปี พ.ศ.2517
ทำไมสหรัฐฯ จึงตัดสิทธิ GSP ไทย
เนื่องจากไทยไม่จัดให้มีการรับรองสิทธิแรงงานตามมาตรฐานสากล ทั้งๆ ที่นโยบายและแนวปฏิบัติของไทยมีความพยายามปรับปรุงมาตรฐานและให้สิทธิแก่แรงงานเพิ่มเติมมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงงานต่างชาติในภาคอุตสาหกรรมการประมง ซึ่งไทยได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญา C188 ซึ่งเป็นอนุสัญญาที่เน้นการคุ้มครองสิทธิแรงงานใน ภาคอุตสาหกรรมการประมงและไทยได้ออกกฎหมายในประเทศเพื่อคุ้มครองสิทธิแรงงานอย่างเร่งด่วนหลายฉบับ
ผลของ TIP Report ที่สหรัฐฯ เลื่อนให้ไทยมีสถานะขึ้นมาจาก Tier 3 เป็น Tier 2 Watch List ยังสอดคล้องกับการที่สหภาพยุโรปได้ยกเลิกการให้ใบเหลืองเตือนเรื่องการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing) ในประเทศไทยไปเมื่อต้นปีที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตาม เราต้องไม่ลืมว่าการพิจารณาเรื่องการให้สิทธิพิเศษ GSP นั้น เป็นสิทธิและดุลยพินิจของประเทศที่ให้สิทธิเสมอ แม้ว่าทางไทยได้พยายามปรับปรุงประเด็นข้อท้วงติงต่างๆ แต่หากทางสหรัฐฯ พิจารณาว่าการรับรองสิทธิแรงงานในไทยยังไม่ดีพอ ไทยก็ทำได้เพียงแต่การชี้แจงข้อเท็จจริงให้กระจ่างแก่สหรัฐฯ โดยต้องรายงานและอธิบายข้อเท็จจริงให้ทางสหรัฐฯ อย่างโปร่งใส และทราบถึงที่มาที่ไปในการแก้ไขปรับปรุงการคุ้มครองและรับรองสิทธิแรงงานในไทย ซึ่งควรเร่งจัดทำรายงานที่แสดงหลักฐานที่เป็นรูปธรรม เพื่อจูงใจให้ทางสหรัฐฯ ทบทวนการตัดสินใจยกเลิกการให้สิทธิ GSP ในครั้งนี้
ผู้ประกอบการควรปรับตัวอย่างไร
การที่ผู้ประกอบการไทยจะก้าวข้ามปัญหากำแพงภาษีนำเข้าในสหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้นจากการถูกยกเลิกสิทธิ GSP นั้น มีอยู่ 2 วิธี
1. ต้องทำให้ต้นทุนในการผลิตต่ำลง โดยยังคงคุณภาพของสินค้าไว้ โดยต้องเพิ่มการใช้เทคโนโลยีในการผลิต หรือเลือกผลิตสินค้าที่เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ในบ้านเราเป็นหลัก
2. ต้องพัฒนาคุณภาพและอัตลักษณ์ของสินค้าไทย ในปัจจุบันผู้บริโภคในประเทศที่พัฒนาแล้ว รวมทั้งในสหรัฐฯ ต้องการรับรู้ที่มาที่ไปของสินค้า สินค้าที่ขายดีและมีมูลค่าทางเศรษฐกิจมากในตลาดการค้าระหว่างประเทศมักไม่ใช่สินค้าที่ถูกที่สุด
แต่เป็นสินค้าที่ผู้บริโภคเชื่อมั่นในแหล่งที่มา ในคุณภาพทั้งด้านกายภาพและวิธีการผลิต และเป็นสินค้าที่มีอัตลักษณ์หรือมีเรื่องราวน่าสนใจ การพัฒนาคุณภาพและอัตลักษณ์ของสินค้าไทยจะเป็นการแก้ไขปัญหาที่จะทำให้ผู้ประกอบการไทยก้าวข้ามประเด็นราคาสินค้าไทยในตลาดสหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้นจากการถูกยกเลิกสิทธิพิเศษทางภาษี GSP ได้อย่างยั่งยืน
https://news.mthai.com/webmaster-talk/771085.html
https://thestandard.co/gsp/
Share This :
More News & Events :
-
-
-
-
-
-
สินค้ากำกัด (Restricted Goods) 28 Feb 2025
-
ประเภทของการขนส่ง 14 Feb 2025
-
เรามารู้จัก Dumping และ Anti-Dumping 31 Jan 2025
-
5 ท่าเรือสำคัญในประเทศไทย 18 Nov 2024
-
Fulfillment คืออะไร 23 Aug 2024
-
SHOCKWATCH คืออะไร 02 Aug 2024
-
Phytosanitary Certificate คืออะไร 17 Jul 2024
-
ชนิดและขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ 04 Jul 2024
-
-
Freight Forwarder services 23 Feb 2024
-
ผู้ที่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่งทางอากาศ 09 Feb 2024
-
10_บริษัทขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ชั้นนำ 26 Jan 2024
-
NVOCC 12 Jan 2024
-
ประเภทของเรือขนส่งสินค้า 13 Dec 2023
-
การขนส่งทางอากาศ 01 Dec 2023
-
ป้ายทะเบียนรถ 27 Nov 2023
-
☢️สินค้าอันตรายกับการขนส่งภายในประเทศ☢️ 10 Nov 2023
-
-
BOI คืออะไร ? 22 Sep 2023
-
-
HS CODE ( Harmonized System ) หรือ พิกัดศุลกากร 24 Aug 2023
-
-
Excepted quantities (EQ) คืออะไร 23 Jun 2023
-
สินค้าส่งออกของไทยที่ต่างชาติชื่นชอบ 09 Jun 2023
-
-
การประกันภัยขนส่งสินค้า (Cargo Insurance) 05 May 2023
-
-
รู้จัก 6 เส้นทางขนส่งผลไม้ไทยไปจีน 10 Mar 2023
-
-
-
-
ค่าธรรมเนียมกรมศุลฯที่ผู้นำเข้า-ส่งออกต้องรู้ 08 Dec 2022
-
Reverse Logistics กระบวนการโลจิสติกส์ย้อนกลับ 11 Nov 2022
-
ฐานความผิดสำคัญทางศุลกากร 28 Oct 2022
-
ความตกลงเขตการค้าเสรีของประเทศไทย 14 Oct 2022
-
ความหมายและผลกระทบของ เขตการค้าเสรี 30 Sep 2022
-
-
แนวคิด Kaizen กับกระบวนการทางโลจิสติกส์ 26 Aug 2022
-
ประโยชน์ของเทคโนโลยี RFID ในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 05 Aug 2022
-
ULD อุปกรณ์บรรทุกสินค้าสำหรับเครื่องบิน 22 Jul 2022
-
บทบาทของผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 08 Jul 2022
-
-
-
ระบบ LEAN กับโลจิสติกส์ 29 Apr 2022
-
ระบบการขนส่งแบบ MILK RUN 11 Apr 2022
-
การขนส่งข้ามพรมแดน 25 Mar 2022
-
ขนส่งทางราง 15 Mar 2022
-
ระบบ Automation กับธุรกิจโลจิสติกส์ 25 Feb 2022
-
เทคโนโลยี 5G กับ โลจิสติกส์ 11 Feb 2022
-
RCEP คืออะไร? 28 Jan 2022
-
ขั้นตอนนำเข้าสัตว์เลี้ยง(สุนัขและแมว) 14 Jan 2022
-
EEC คืออะไร? 29 Oct 2021
-
คลังสินค้าทัณฑ์บน(Bonded Warehouse) 30 Jul 2021
-
4 ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องพิจารณาสำหรับการขนส่ง 09 Jul 2021
-
กฎหมายควรรู้เกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออกสัตว์น้ำ 02 Jul 2021
-
-
-
-
การบริหารความเสี่ยงในการนำเข้าส่งออกสินค้า 04 Jun 2021
-
-
-
รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเล 14 May 2021
-
การ Enter เอกสารคืออะไร? 07 May 2021
-
Elastic Logistics คืออะไร? 30 Apr 2021
-
ความรู้เกี่ยวกับตารางการเดินเรือ 23 Apr 2021
-
การขนส่งทางรถแบบ FTL และ LTL แตกต่างกันอย่างไร? 16 Apr 2021
-
การคำนวนราคาหาราคาศุลกากรและภาษีอากรนำเข้า 09 Apr 2021
-
-
คุณรู้จัก CROSS BORDER หรือไม่? 02 Apr 2021
-
-
SOC และ COC คืออะไร? 19 Mar 2021
-
-
INTERMODAL & MULTIMODAL แตกต่างกันอย่างไร? 05 Mar 2021
-
การคำนวนภาษีนำเข้า 25 Feb 2021
-
การตรวจสอบอัตราอากรขาเข้าและใบอนุญาตนำเข้า 19 Feb 2021
-
HS CODE ของสินค้าเช็คอย่างไร? 17 Feb 2021
-
การตรวจสอบ Form E ก่อนดำเนินพิธีการศุลกากร 05 Feb 2021
-
-
พิธีการนำเข้าสินค้าเบื้องต้น 22 Jan 2021
-
-
-
อยากนำเข้าหรือส่งออกต้องรู้อะไรบ้าง? 09 Dec 2020
-
-
-
Demurrage & Detention คืออะไร? 18 Nov 2020
-
-
กลุ่มสินค้าส่งออกยอดนิยมยุค New Normal 06 Nov 2020
-
INCOTERM สำคัญต่อการนำเข้า-ส่งออกอย่างไร? 30 Oct 2020
-
-
ค่า LSS คือค่าอะไร? 16 Oct 2020
-
ค่า LOCAL CHARGE คืออะไร? 09 Oct 2020
-
-
-
-
กรมศุลกากรยกเว้นอากรขาเข้าสินค้ากลุ่มเครื่องจักร 11 Sep 2020
Join BNI PROSPERITY?
BNI Prosperirty, we are "Chapter of Growth"
if you are looking for growth for your business, Contact us NOW!