มาตรการ IMO2020 กับระบบขนส่งทางทะเล
- 31 Jan 2020

มาตรการ IMO2020 กับระบบขนส่งทางทะเล
IMO (International Maritime Organization) คือ องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของสหประชาชาติ จะบังคับใช้กฎเกณฑ์ใหม่เกี่ยวกับมาตรฐานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อการเดินเรือทางทะเล โดยกำหนดให้เรือขนส่งลดปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์หรือกำมะถันเหลือ 0.5% จากปัจจุบัน 3.5% เพื่อลดมลพิษ เนื่องจากภาคการขนส่งทางเรือมีส่วนสำคัญในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเข้าสู่ระบบนิเวศค่อนข้างมาก โดยกฎเกณฑ์ใหม่นี้จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ซึ่งเรียกกฎเกณฑ์นี้สั้นๆ ว่า มาตรการ IMO2020 หรือ กฎระเบียบเชื้อเพลิงกำมะถัน IMO2020
การปรับตัวของภาคเดินเรือกับมาตรการ IMO2020
ภาคการเดินเรือจึงต้องปรับตัวขนานใหญ่ให้เข้ากับมาตรฐานที่เข้มงวดขึ้นโดยมี 2 ทางเลือก
1. ติดตั้งตัวดักจับกำมะถัน (Scrubber) บริษัทเดินเรือจำนวนหนึ่งเลือกที่จะติดตั้งตัวดักจับกำมะถัน แต่นั่นก็เป็นวิธีที่เหมาะกับเรือขนาดใหญ่เท่านั้น เนื่องจากระยะเวลาคุ้มทุน จะอยู่ที่ 1-2 ปี ในขณะที่เรือขนาดเล็กจะมีระยะเวลาคุ้มทุนสูงถึง 5 ปี จึงคาดว่าจะมีเพียง 1% ของกองเรือขนส่งทั่วโลกเลือกที่จะใช้วิธีติดตั้ง scrubber นี้
โดยคาดว่าบริษัทส่วนใหญ่จะเลือกใช้วิธีอื่นไปก่อน และติดตามประสิทธิภาพของเครื่อง scrubber รวมถึงศึกษาความเป็นไปได้ที่มาตรการควบคุมเครื่อง scrubber อาจเพิ่มความเข้มงวดในอนาคต เนื่องจากท่าเรือหลักๆ ในหลายประเทศไม่อนุญาตให้ใช้เครื่อง scrubber แบบ open-loop ซึ่งมีราคาถูกแต่จะต้องทิ้งของเสียคือกำมะถันที่เครื่องนี้ดักจับไว้ได้ลงทะเล
2. เปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดขึ้น การเปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงในการเดินเรือที่สะอาดขึ้นโดยมีสัดส่วนการปล่อยกำมะถันตามเกณฑ์ของ IMO2020 ที่ไม่เกิน 0.5% เชื้อเพลิงกลุ่มนี้คือ Marine Gas Oil (MGO) และ Very Low Sulfur Fuel Oil (VLSFO) ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงในกลุ่มที่เรียกว่า Middle Distillates โดยบริษัทเดินเรือส่วนใหญ่จะเลือกเปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงเหล่านี้ และคาดว่าอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นของเชื้อเพลิงเหล่านี้จะสูงถึง 2 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็น 6% ของอุปสงค์น้ำมันดีเซลทั้งโลก
1. ติดตั้งตัวดักจับกำมะถัน (Scrubber) บริษัทเดินเรือจำนวนหนึ่งเลือกที่จะติดตั้งตัวดักจับกำมะถัน แต่นั่นก็เป็นวิธีที่เหมาะกับเรือขนาดใหญ่เท่านั้น เนื่องจากระยะเวลาคุ้มทุน จะอยู่ที่ 1-2 ปี ในขณะที่เรือขนาดเล็กจะมีระยะเวลาคุ้มทุนสูงถึง 5 ปี จึงคาดว่าจะมีเพียง 1% ของกองเรือขนส่งทั่วโลกเลือกที่จะใช้วิธีติดตั้ง scrubber นี้
โดยคาดว่าบริษัทส่วนใหญ่จะเลือกใช้วิธีอื่นไปก่อน และติดตามประสิทธิภาพของเครื่อง scrubber รวมถึงศึกษาความเป็นไปได้ที่มาตรการควบคุมเครื่อง scrubber อาจเพิ่มความเข้มงวดในอนาคต เนื่องจากท่าเรือหลักๆ ในหลายประเทศไม่อนุญาตให้ใช้เครื่อง scrubber แบบ open-loop ซึ่งมีราคาถูกแต่จะต้องทิ้งของเสียคือกำมะถันที่เครื่องนี้ดักจับไว้ได้ลงทะเล
2. เปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดขึ้น การเปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงในการเดินเรือที่สะอาดขึ้นโดยมีสัดส่วนการปล่อยกำมะถันตามเกณฑ์ของ IMO2020 ที่ไม่เกิน 0.5% เชื้อเพลิงกลุ่มนี้คือ Marine Gas Oil (MGO) และ Very Low Sulfur Fuel Oil (VLSFO) ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงในกลุ่มที่เรียกว่า Middle Distillates โดยบริษัทเดินเรือส่วนใหญ่จะเลือกเปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงเหล่านี้ และคาดว่าอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นของเชื้อเพลิงเหล่านี้จะสูงถึง 2 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็น 6% ของอุปสงค์น้ำมันดีเซลทั้งโลก
ราคาน้ำมันในกลุ่ม Middle Distillates มีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ราคาก๊าซในประเทศมีแนวโน้มลดลง
เนื่องจากบริษัทเรือเดินสมุทรส่วนใหญ่จะเลือกเปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงกลุ่ม Middle Distillates มากขึ้น จะช่วยผลักดันส่วนต่างราคาน้ำมันเชื้อเพลิงกลุ่มนี้ให้เพิ่มสูงขึ้น โดยส่วนต่างราคาระหว่างราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดฟิวเจอร์ส (ส่งมอบเดือนมกราคม 2563) ของเชื้อเพลิงประเภท Marine Gas Oil (MGO) กับ High Sulfur Fuel Oil (HSFO) อยู่ที่ 250-300 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จากปัจจุบันที่ 140 เหรียญต่อตัน
นอกจากนี้ มาตรการ IMO2020 จะมีส่วนในการเพิ่มอุปสงค์ของเรือประเภท Floating Storage Unit (FSU) ซึ่งเป็นเรือที่ใช้ในการเก็บน้ำมันและผสมน้ำมันเพื่อผลิต Very Low Sulfur Fuel Oil (VLSFO) สาเหตุที่อุปสงค์ของเรือประเภทนี้เพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากน้ำมัน VLSFO มีราคาถูกกว่า MGO
ผลกระทบอีกอย่างหนึ่งที่น่าสนใจคือ ราคา HSFO มีแนวโน้มลดลง เพราะเรือหันไปใช้ LSFO แทน ทำให้ผู้ประกอบการที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตจะได้ประโยชน์จากแนวโน้มนี้ด้วย เพราะราคาก๊าซธรรมชาติในประเทศไทยได้กำหนดให้ผูกติดกับราคา HSFO
นอกจากนี้ มาตรการ IMO2020 จะมีส่วนในการเพิ่มอุปสงค์ของเรือประเภท Floating Storage Unit (FSU) ซึ่งเป็นเรือที่ใช้ในการเก็บน้ำมันและผสมน้ำมันเพื่อผลิต Very Low Sulfur Fuel Oil (VLSFO) สาเหตุที่อุปสงค์ของเรือประเภทนี้เพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากน้ำมัน VLSFO มีราคาถูกกว่า MGO
ผลกระทบอีกอย่างหนึ่งที่น่าสนใจคือ ราคา HSFO มีแนวโน้มลดลง เพราะเรือหันไปใช้ LSFO แทน ทำให้ผู้ประกอบการที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตจะได้ประโยชน์จากแนวโน้มนี้ด้วย เพราะราคาก๊าซธรรมชาติในประเทศไทยได้กำหนดให้ผูกติดกับราคา HSFO
หุ้นไทยที่ได้ประโยชน์จากมาตราการ IMO 2020
1. ไทยออยล์ (TOP) จะได้ประโยชน์มากที่สุด สืบเนื่องจากค่าการกลั่นที่สูงขึ้นในปี 2563 จะสามารถเลือกที่จะยกระดับโรงกลั่นจากการปรับสัดส่วนของผลผลิตที่ได้จากการกลั่นน้ำมัน โดยลดสัดส่วน HSFO และเพิ่มสัดส่วนน้ำมันเชื้อเพลิงกลุ่ม Middle distillates โดย TOP จะได้ประโยชน์มากที่สุดเพราะจะสามารถผลิตน้ำมันชนิด Middle Distillates ได้สูงที่สุด ตามด้วย สตาร์ ปิโตรเลียม (SPRC) ที่มีโรงกลั่นโดยเฉพาะ และจะเป็นผลบวกอยู่บ้างกับ PTTGC IRPC และ BCP เพราะมีสัดส่วนธุรกิจโรงกลั่นที่เพียง 10% 20% และ 50% ต่อกำไรสุทธิของบริษัท ตามลำดับ หากส่วนต่างค่าการกลั่น (Gross refinery margin/GRM) เพิ่มขึ้น 1-2 เหรียญต่อบาร์เรลในปี 2563 ซึ่งเราคาดว่า ผลกำไรของ TOP จะปรับเพิ่มขึ้น 23-46%
2. พริมา มารีน (PRM) จะกระตุ้นอุปสงค์ต่อเรือ FSU สำหรับการเก็บน้ำมันและผสมเพื่อผลิต VLSFO โดย PRM คือบริษัทจดทะเบียนในตลาดหุ้นไทยเพียงบริษัทเดียวที่มีธุรกิจ FSU ซึ่งธุรกิจนี้คิดเป็น 50% ต่อกำไรทั้งหมดของ PRM ในปี 2562 PRM ได้ขยายกองเรือ FSU เป็น 7 ลำจาก 5 ลำตั้งแต่ไตรมาส 2/2562 ด้วยอัตราการดำเนินงานที่ 100% คาดว่าผลการดำเนินงานของ PRM ในครึ่งหลังของปี 2562 จะได้ประโยชน์จากการขยายกองเรือ ค่าระวางเรือที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว
3. บางกอกกล๊าส (BGC) เพราะราคาก๊าซธรรมชาติในประเทศนั้นอิงจากราคา HSFO ถ้าหากราคาลดลงในปี 2563 จะเป็นบวกต่อกลุ่มผู้ผลิตขวดแก้ว เพราะต้นทุนก๊าซธรรมชาติคิดเป็นสัดส่วน 30% ของค่าใช้จ่ายในการขาย โดย BGC จะได้ประโยชน์มากที่สุด เพราะเป็นผู้ผลิตขวดแก้วโดยเฉพาะและมีส่วนแบ่งตลาดสูงที่สุดในแง่ของกำลังการผลิตบรรจุภัณฑ์ชนิดแก้ว (39% ในปี 2562)
2. พริมา มารีน (PRM) จะกระตุ้นอุปสงค์ต่อเรือ FSU สำหรับการเก็บน้ำมันและผสมเพื่อผลิต VLSFO โดย PRM คือบริษัทจดทะเบียนในตลาดหุ้นไทยเพียงบริษัทเดียวที่มีธุรกิจ FSU ซึ่งธุรกิจนี้คิดเป็น 50% ต่อกำไรทั้งหมดของ PRM ในปี 2562 PRM ได้ขยายกองเรือ FSU เป็น 7 ลำจาก 5 ลำตั้งแต่ไตรมาส 2/2562 ด้วยอัตราการดำเนินงานที่ 100% คาดว่าผลการดำเนินงานของ PRM ในครึ่งหลังของปี 2562 จะได้ประโยชน์จากการขยายกองเรือ ค่าระวางเรือที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว
3. บางกอกกล๊าส (BGC) เพราะราคาก๊าซธรรมชาติในประเทศนั้นอิงจากราคา HSFO ถ้าหากราคาลดลงในปี 2563 จะเป็นบวกต่อกลุ่มผู้ผลิตขวดแก้ว เพราะต้นทุนก๊าซธรรมชาติคิดเป็นสัดส่วน 30% ของค่าใช้จ่ายในการขาย โดย BGC จะได้ประโยชน์มากที่สุด เพราะเป็นผู้ผลิตขวดแก้วโดยเฉพาะและมีส่วนแบ่งตลาดสูงที่สุดในแง่ของกำลังการผลิตบรรจุภัณฑ์ชนิดแก้ว (39% ในปี 2562)
ที่มา https://forbesthailand.com/commentaries/investment-outlook/%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-imo2020.html
Share This :
More News & Events :
-
-
-
-
-
-
สินค้ากำกัด (Restricted Goods) 28 Feb 2025
-
ประเภทของการขนส่ง 14 Feb 2025
-
เรามารู้จัก Dumping และ Anti-Dumping 31 Jan 2025
-
5 ท่าเรือสำคัญในประเทศไทย 18 Nov 2024
-
Fulfillment คืออะไร 23 Aug 2024
-
SHOCKWATCH คืออะไร 02 Aug 2024
-
Phytosanitary Certificate คืออะไร 17 Jul 2024
-
ชนิดและขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ 04 Jul 2024
-
-
Freight Forwarder services 23 Feb 2024
-
ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่งทางอากาศ 09 Feb 2024
-
10_บริษัทขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ชั้นนำ 26 Jan 2024
-
NVOCC 12 Jan 2024
-
ประเภทของเรือขนส่งสินค้า 13 Dec 2023
-
การขนส่งทางอากาศ 01 Dec 2023
-
ป้ายทะเบียนรถ 27 Nov 2023
-
☢️สินค้าอันตรายกับการขนส่งภายในประเทศ☢️ 10 Nov 2023
-
-
BOI คืออะไร ? 22 Sep 2023
-
-
HS CODE ( Harmonized System ) หรือ พิกัดศุลกากร 24 Aug 2023
-
-
Excepted quantities (EQ) คืออะไร 23 Jun 2023
-
สินค้าส่งออกของไทยที่ต่างชาติชื่นชอบ 09 Jun 2023
-
-
การประกันภัยขนส่งสินค้า (Cargo Insurance) 05 May 2023
-
-
รู้จัก 6 เส้นทางขนส่งผลไม้ไทยไปจีน 10 Mar 2023
-
-
-
-
ค่าธรรมเนียมกรมศุลฯที่ผู้นำเข้า-ส่งออกต้องรู้ 08 Dec 2022
-
Reverse Logistics กระบวนการโลจิสติกส์ย้อนกลับ 11 Nov 2022
-
ฐานความผิดสำคัญทางศุลกากร 28 Oct 2022
-
ความตกลงเขตการค้าเสรีของประเทศไทย 14 Oct 2022
-
ความหมายและผลกระทบของ เขตการค้าเสรี 30 Sep 2022
-
-
แนวคิด Kaizen กับกระบวนการทางโลจิสติกส์ 26 Aug 2022
-
ประโยชน์ของเทคโนโลยี RFID ในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 05 Aug 2022
-
ULD อุปกรณ์บรรทุกสินค้าสำหรับเครื่องบิน 22 Jul 2022
-
บทบาทของผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 08 Jul 2022
-
-
-
ระบบ LEAN กับโลจิสติกส์ 29 Apr 2022
-
ระบบการขนส่งแบบ MILK RUN 11 Apr 2022
-
การขนส่งข้ามพรมแดน 25 Mar 2022
-
ขนส่งทางราง 15 Mar 2022
-
ระบบ Automation กับธุรกิจโลจิสติกส์ 25 Feb 2022
-
เทคโนโลยี 5G กับ โลจิสติกส์ 11 Feb 2022
-
RCEP คืออะไร? 28 Jan 2022
-
ขั้นตอนนำเข้าสัตว์เลี้ยง(สุนัขและแมว) 14 Jan 2022
-
EEC คืออะไร? 29 Oct 2021
-
คลังสินค้าทัณฑ์บน(Bonded Warehouse) 30 Jul 2021
-
4 ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องพิจารณาสำหรับการขนส่ง 09 Jul 2021
-
กฎหมายควรรู้เกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออกสัตว์น้ำ 02 Jul 2021
-
-
-
-
การบริหารความเสี่ยงในการนำเข้าส่งออกสินค้า 04 Jun 2021
-
-
-
รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเล 14 May 2021
-
การ Enter เอกสารคืออะไร? 07 May 2021
-
Elastic Logistics คืออะไร? 30 Apr 2021
-
ความรู้เกี่ยวกับตารางการเดินเรือ 23 Apr 2021
-
การขนส่งทางรถแบบ FTL และ LTL แตกต่างกันอย่างไร? 16 Apr 2021
-
การคำนวนราคาหาราคาศุลกากรและภาษีอากรนำเข้า 09 Apr 2021
-
-
คุณรู้จัก CROSS BORDER หรือไม่? 02 Apr 2021
-
-
SOC และ COC คืออะไร? 19 Mar 2021
-
-
INTERMODAL & MULTIMODAL แตกต่างกันอย่างไร? 05 Mar 2021
-
การคำนวนภาษีนำเข้า 25 Feb 2021
-
การตรวจสอบอัตราอากรขาเข้าและใบอนุญาตนำเข้า 19 Feb 2021
-
HS CODE ของสินค้าเช็คอย่างไร? 17 Feb 2021
-
การตรวจสอบ Form E ก่อนดำเนินพิธีการศุลกากร 05 Feb 2021
-
-
พิธีการนำเข้าสินค้าเบื้องต้น 22 Jan 2021
-
-
-
อยากนำเข้าหรือส่งออกต้องรู้อะไรบ้าง? 09 Dec 2020
-
-
-
Demurrage & Detention คืออะไร? 18 Nov 2020
-
-
กลุ่มสินค้าส่งออกยอดนิยมยุค New Normal 06 Nov 2020
-
INCOTERM สำคัญต่อการนำเข้า-ส่งออกอย่างไร? 30 Oct 2020
-
-
ค่า LSS คือค่าอะไร? 16 Oct 2020
-
ค่า LOCAL CHARGE คืออะไร? 09 Oct 2020
-
-
-
-
กรมศุลกากรยกเว้นอากรขาเข้าสินค้ากลุ่มเครื่องจักร 11 Sep 2020
สนใจ BNI PROSPERITY ?
BNI Prosperirty เป็น chapter of Growth พื้นที่ของการเติบโต
เพื่อธุรกิจของเรา ที่ร่วมกันเติบโตไปด้วยกัน ท่านสนใจร่วมประชุม.. ติตต่อเลย!